Page 96 - MONO_AR_2016_TH
P. 96

10. กรณีท่ีบุคคลภายนอกมีส่วนร่วมในการทางานเฉพาะกิจเก่ียวกับข้อมูลที่ยังไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณชนและอยู่ระหว่าง การเจรจา ซ่ึงเข้าข่ายการเก็บรักษาข้อมูลภายในอันอาจมีผลต่อความเคลื่อนไหวของราคาหลักทรัพย์ของบริษัท บุคคล เหล่านั้นจะต้องทาสัญญาเก็บรักษาข้อมูลความลับ (Con dentiality Agreement) จนกว่าจะมีการเปิดเผยข้อมูล ต่อตลาดหลักทรัพย์และสานักงาน ก.ล.ต.
11. กรรมการผบู้ รหิ ารพนกั งานผทู้ ฝี่ า่ ฝนื นโยบายการใชข้ อ้ มลู ภายในจะตอ้ งถกู ลงโทษทางวนิ ยั และ/หรอื กฎหมายแลว้ แตก่ รณี
นโยบายด้านสิทธิมนุษยชน
บรษิ ทั ตระหนกั และเลง็ เหน็ ถงึ ความสา คญั ตอ่ การเคารพในหลกั สทิ ธมิ นษุ ยชนซงึ่ เปน็ สทิ ธขิ นั้ พน้ื ฐานโดยยดึ หลกั ความเสมอภาค และเท่าเทียมกัน จึงได้ส่งเสริมให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานตระหนักถึงการเคารพสิทธิมนุษยชน สิทธิหน้าท่ี และ ความรับผิดชอบ ที่มีต่อตนเองและบุคคลอ่ืน โดยมีแนวปฏิบัติ ดังน้ี
1. เคารพและยึดม่ันในการปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชนบนพ้ืนฐานของศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ ต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย
2. ให้ความเสมอภาค และเท่าเทียมกัน โดยไม่เลือกปฏิบัติต่อผู้หน่ึงผู้ใด และไม่ละเมิดสิทธิของบุคคลอ่ืนทั้งทางวาจา และการกระทา อันเนื่องจากความแตกต่างทางสถานภาพ เช่น สัญชาติ เพศ อายุ ศาสนา ถิ่นกาเนิด ภาษา วัฒนธรรม การศึกษา ลักษณะทางกายภาพ ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม ความคิดเห็น และความเช่ือ ฯลฯ
3. ปฏิบัติต่อพนักงานบนพื้นฐานของศักด์ิศรีของความเป็นมนุษย์ สนับสนุนให้พนักงานใช้สิทธิของตนโดยชอบธรรม ตามรฐั ธรรมนญู และตามกฎหมาย ใหค้ วามรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั กฎหมาย สทิ ธหิ นา้ ท่ี ความรบั ผดิ ชอบของตนเอง รวมถงึ การเคารพในสิทธิและหน้าท่ีของบุคคลอื่น และการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างกัน เพ่ือให้พนักงานใช้เป็นแนวปฏิบัติ
4. รักษาข้อมูลส่วนบุคคลของผู้มีส่วนได้เสียไม่กระทาการละเมิดข้อมูลความเป็นส่วนตัวหรือแสวงหาผลประโยชน์โดย มิชอบจากข้อมูล การเก็บข้อมูล การเปิดเผยหรือการนาข้อมูลไปใช้ต้องได้รับการยินยอมจากเจ้าของข้อมูล เว้นแต่เป็น การกระทาที่ชอบด้วยกฎหมาย ข้อบังคับ หรือระเบียบบริษัท
5. มีกระบวนการติดตามกากับดูแลการดาเนินธุรกิจของบริษัทและการปฏิบัติงานของพนักงานมิให้กระทาการละเมิดสิทธิ มนุษยชน
นโยบายด้านการไม่ล่วงละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาหรือลิขสิทธ์ิ
บริษัทมีนโยบายท่ีจะปฏิบัติตามกฎหมายท่ีเก่ียวข้องเก่ียวกับทรัพย์สินทางปัญญาหรือลิขสิทธิ์ โดยมีแนวปฏิบัติ ดังนี้
1. ผลงานและลขิ สทิ ธทิ์ เี่ กดิ จากการปฏบิ ตั งิ านตามหนา้ ทท่ี ไี่ ดร้ บั มอบหมายจากบรษิ ทั หรอื งานทใี่ ชส้ า หรบั บรษิ ทั ผลงานและ ลิขสิทธิ์เหล่านั้นถือเป็นของบริษัท ต้องส่งมอบให้กับบริษัท ไม่ว่าข้อมูล ผลงานหรือลิขสิทธิ์ที่เก็บไว้จะอยู่ในรูปแบบใดๆ
2. ดแู ลการจดทะเบยี นเครอื่ งหมายการคา้ สทิ ธบิ ตั รลขิ สทิ ธ์ิและทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาของบรษิ ทั เพอื่ รกั ษาผลประโยชนแ์ ละ ป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์จากบุคคลอ่ืน
3. ใชง้ านคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศใหเ้ ปน็ ไปตาม “ระเบยี บการใชง้ านเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรอ์ ยา่ งปลอดภยั ” และ พระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยการกระทา ความผดิ เกยี่ วกบั คอมพวิ เตอร์พ.ศ.2550ซงึ่ ควบคมุ ดแู ลการใชง้ านโดยฝา่ ยเทคโนโลยี สารสนเทศของบริษัท อาทิเช่น การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ต้องผ่านการตรวจสอบและลงโปรแกรมท่ีมีลิขสิทธิ์ถูกต้อง โดยฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ หากบริษัทตรวจพบการกระทาท่ีไม่ถูกต้อง ถือเป็นการกระทาผิดทางวินัยบริษัท
4. ปฏบิ ตั ติ นใหเ้ปน็ ไปตามกฎหมายทเ่ีกยี่ วขอ้ งกบั ทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาและลขิ สทิ ธ์ิเชน่ กฎหมายเกยี่ วกบั เครอื่ งหมายการคา้ กฎหมายเกยี่ วกบั สทิ ธบิ ตั ร กฎหมายเกยี่ วกบั ลขิ สทิ ธ์ิ หรอื กฎหมายอนื่ ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง และสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารฝกึ อบรมใหค้ วามรู้ กับพนักงานในด้านกฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา
96


































































































   94   95   96   97   98